iok2u.com แหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเรื่องราวน่าสนใจเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนรู้

ยืนหยัด เข้มแข็ง และกล้าหาญ (Stay Strong & Be Brave)
ขอเป็นกำลังใจให้คนดีทุกคนในการต่อสู้ความอยุติธรรม ในยุคสังคมที่คดโกงยึดถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกฟ้องมากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม จนหลายคนคิดว่าพวกด้านได้อายอดมักได้ดี แต่หากยึดคำในหลวงสอนไว้ในเรื่องการทำความดีเราจะมีความสุขครับ
มิสเตอร์เรน (Mr. Rain) และมิสเตอร์เชน (Mr. Chain)
Mr. Rain และ Mr. Chain สองพี่น้องในโลกออฟไลน์และออนไลน์ที่จะมาร่วมมือกันสร้างสื่อสารสนเทศ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆ มากมายสร้างสังคมในการเรียนรู้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา
Pay It Forward เป้าหมายเล็ก ๆ ในการส่งมอบความดีต่อ ๆ ไป
เว็ปไซต์นี้เกิดจากแรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward ที่เล่าถึงการมีเป้าหมายเล็ก ๆ กำหนดไว้ให้ส่งมอบความดีต่อไปอีก 3 คน หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลยโดยไม่ต้องตอบแทนกลับมา อยากให้ส่งต่อเพื่อถ่ายทอดต่อไป

Waiyapot ep048 Wilson’s Cycle วงจรการเกิดมหาสมุทรและแผ่นดินของ วิลสัน

 

 
 
 
Fig. 48.1 The Wilson’ s Cycle.
EP. 48 Wilson’s Cycle วงจรการเกิดมหาสมุทรและแผ่นดินของ วิลสัน
เมื่อปี ค.ศ. 1968 John Tuzo Wilson ชาวแคนาดา ได้นำเสนอ การแตกตัวของมหาทวีป Pangaea เป็นมหาสมุทร Atlantic และทวีป Laurensia (อเมริกาเหนือ)
The Wilson cycle theory เริ่มจากการเคลื่อนตัวขึ้นมาของกระแสความร้อนจากชั้น lower mantle ดันในผิวพื้นทวีปโกร่งตัวขึ้นโดย convection current ที่เคลื่อนตัวขึ้น แล้วมีการยุบตัวของแกนกลางแนวโกร่งตัวเรียกว่า rift valley (เปรียบได้กับ African rift valley ที่ประเทศ Kenya-Zimbabwe ใน Africa) จนเป็นร่องทะเลปิดเล็ก ๆ (เปรียบได้กับ Red Sea ในปัจจุบัน) โดยมีแนว mid ocean ridge เล็ก ๆ เป็น suture zone อยู่ตรงกลาง แรงดันจากแกนกลางของ mid ocean ridge ออกไปทั้งด้านซ้ายและขวา (seafloor spreading) ดันให้แผ่นทวีปทั้งสองข้าง เคลื่อนตัวออกจากกัน (divergent boundaries) ทำให้ท้องทะเลกว้างขึ้นจนแยกตัวเป็นมหาสมุทร (เปรียบได้กับมหาสมุทร Atlantic) จากนั้นการปิดลงของมหาสมุทรจะเริ่มต้นจากการเกิด subduction zones เมื่อ convection current cell เคลื่อนที่ลง ก็จะดึงให้ ชั้น crust เกิดการมุดตัวลงไปใต้ ชั้น crust อีกฟากหนึ่ง พื้นที่ที่จะเกิดการมุดตัวเกิดได้ในทิศทางใด ๆ ก็ได้ ในที่นี้เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ก็จะให้แผ่นทวีปด้าน E มุดลงไปใต้แผ่นทวีปด้าน W ก็จะลากทวีปด้านE มาชนกับทวีปด้าน W (convergent plate boundaries) จนมหาสมุทรปิดลง เกิดเป็นแผ่นดินใหม่ (collision orogeny) ที่หลอมรวมเป็นแผ่นดินเดียวกันอีกครั้ง
 
Fig. 48.2 The Wilson’ s Cycle.
 
Fig. 48.3 The Wilson’ s Cycle.
 
Fig. 48.4 The Wilson’ s Cycle.

ที่มา

https://www.facebook.com/weerasak.phomthong

รวบรวมข้อมูลและภาพ

www.iok2u.com

-------------------------------------------------

Waiyapot บทความ ไวยพจน์ วรกนก (Waiyapot Worakanok) รวมข้อมูล

-------------------------------------------------

 

 

ขอต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์
www.iok2u.com
แหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อคุณ

เว็บไซต์ www.iok2u.com นี้เกิดมาจาก แรงบันดาลใจในภาพยนต์เรื่อง Pay It Forward โดยมีเป้าหมายเล็ก ๆ ที่กำหนดไว้ว่า ทุกครั้งที่เข้าเรียนสัมมนาหรืออบรมในแต่ละครั้ง จะนำความรู้มาจัดทำเป็นบทความอย่างน้อย 3 เรื่อง เพื่อมาลงในเว็บนี้
ความตั้งใจที่จะถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับมาทำการถ่ายทอดต่อไป และหวังว่าจะมีคนมาอ่านแล้วเห็นว่ามีประโยชน์นำเอาไปใช้ได้ หากใครคิดว่ามันมีประโยชน์ก็สามารถนำไปเผยแพร่ต่อได้เลย โดยอาจไม่ต้องอ้างอิงที่มาหรือมาตอบแทนผู้จัด แต่ขอให้ส่งต่อหากคิดว่ามันดีหรือมีประโยชน์ เพื่อถ่ายทอดความรู้และสิ่งดี ๆ ต่อไปข้างหน้าต่อไป Pay It Forward